วันพุธที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

กิจกรรม/ผลงานเด่น


            สรุปผลการดำเนินงานโครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งเป็นเกราะป้องกันเด็กจมน้ำ
ประจำปี 2559   โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหว้าน
 ต.สำโรงปราสาท  อ.ปรางค์กู่  จ.ศรีสะเกษ
วัตถุประสงค์
1.      เพื่อสร้างเครือข่ายในการป้องกันเด็กจมน้ำตำบลหว้าน ให้มีความเข้มแข็ง
2.      เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กและมีมาตรการร่วมกันในการป้องกันเด็กจมน้ำ
3.      เพื่อให้ครู / ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ทักษะการป้องกันเด็กจมน้ำรวมทั้งการช่วยชีวิตเบื้องต้น
4.      เพื่อให้เด็กมีความรู้ทักษะการลอยตัวเพื่อเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำรวมถึงแนวทางการช่วยเหลือเมื่อพบคนตกน้ำ
5.      เพื่อให้อาสาสมัครกู้ชีพและอาสาฉุกเฉินชุมชน ให้การช่วยผู้ป่วยจมน้ำเบื้องต้นและแจ้งขอความช่วยเหลือได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว

กลุ่มเป้าหมาย  
1  1. ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน ได้แก่  โรงเรียน อบต.  อสม.   จำนวน  72 คน
2  2.  ผู้ปกครองเด็กหรือผู้ดูแลเด็กที่มารับบริการที่คลินิกเด็กดี ใน รพ.สต.หว้าน 74 คน
3  3.  รูพี่เลี้ยงศูนย์เด็ก ครูอนามัยโรงเรียน ในเขต รพ.สต.หว้าน    จำนวน 4  คน

 4. เด็กนักเรียนอายุ 6 - 14 ปีในเขต รพ.สต.  จำนวน   119    คน
5. อาสาสมัครกู้ชีพในหน่วยบริการและอาสาฉุกเฉินชุมชนสังกัด รพ.สต. 9 คน

ผลการดำเนินงาน
1.      มีการจัดทำแผนงาน/โครงการโครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งเป็นเกราะป้องกันเด็กจมน้ำ
ประจำปี 2559   โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหว้าน ต.สำโรงปราสาท  อ.ปรางค์กู่  จ.ศรีสะเกษ

2.      มีการจัดตั้งคณะกรรมการระดับตำบล เกี่ยวกับการควบคุมโรคเข้มแข็งและภัยสุขภาพระดับตำบล
ปี 2559 ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
คณะกรรมการดำเนินงานการป้องกันเด็กจมน้ำ ประกอบด้วย
2.1  นายบุญมี  เชื้อทอง   กำนันตำบลสำโรงปราสาท                 ประธานกรรมการ
2.2  นายมนูญ พรหมมาศ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงปราสาท รองประธานกรรมการ
2.3  นายสมบูรณ์  พรหมลิ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงปราสาท   รองประธานกรรมการ
2.4  ผู้บริหารสถานศึกษาในเขตตำบลสำโรงปราสาททุกแห่ง           กรรมการ
2.5  ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้านในตำบลสำโรงปราสาท                       กรรมการ
2.6  สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงปราสาททุกหมู่บ้าน        กรรมการ
2.7  ประธาน อสม.ตำบลสำโรงปราสาท ทุกหมู่บ้าน                                กรรมการ
2.8  นายนัส  เมืองจันทร์                 ผอ.รพ.สต. ตาเปียง                  กรรมการ
2.9  นางสาวจรรยาวัณณ์  มะลิย์      เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน   กรรมการ
2.10         นางสาวศิริลักษณ์  ศรีกันยา       พยาบาลวิชาชีพ                   กรรมการ
2.11         นางสาวชุติมาพร  ธรรมบุตร       พยาบาลวิชาชีพ                   กรรมการ
2.12         นางสาวพัชรินทร์  เข็มทอง  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ      กรรมการ
2.13         นายคมกฤช  ทองแพรว             ผอ.รพ.สต. หว้าน     กรรมการและเลขานุการ
2.14         นางสาวมยุรี  สิมมะโรง  นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ    กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
      มีหน้าที่รับผิดชอบ
1.      จัดทำแผน/โครงการในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันการจมน้ำของเด็ก
2.      วิเคราะห์สถานการณ์/ปัจจัยเสี่ยงของการจมน้ำของเด็กในพื้นที่   
3.      จัดงบสนับสนุนตามแผนงานโครงการให้เหมาะสมและมีผู้รับผิดชอบชัดเจน
4.      สำรวจความสามารถในการว่ายน้ำตลอดจนจัดเก็บข้อมูลการว่ายน้ำเป็นของเด็กในพื้นที่
5.      มีการจัดให้เด็กอายุ 6 - 14 ปี ได้เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดตามความเหมาะสม
6.      สรุปผลการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบ

3.      มีการประชุมคณะกรรมการเครือข่ายป้องกันเด็กจมน้ำอำเภอปรางค์กู่ เพื่อแจ้งแผนการดำเนินงานการเฝ้าระวังเด็กจมน้ำ แจ้งข้อมูลแหล่งน้ำเสี่ยง สถานการณ์ การจมน้ำเสียชีวิตของเด็กอายุ 6 – 14 ปี ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหว้าน

               ภาพการประชุมคณะกรรมการเครือข่ายป้องกันเด็กจมน้ำ 

1.      ในสถานศึกษาทำการสำรวจข้อมูลเด็กนักเรียนวัย 6 -14  ปีเพื่อรับการอบรมหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนทุกโรงเรียน และ ร่วมจัดหามาตรการป้องกันใน ศพด.ทุกแห่ง
นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 – 6 โรงเรียนบ้านสำโรง มีเด็กที่ว่ายน้ำเป็นเพียง 5 คน
จากเด็กทั้งหมด 64 คน คิดเป็นร้อยละ 7.81,  นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 – 6 โรงเรียน
บ้านหว้าน มีเด็กที่ว่ายน้ำเป็นเพียง 3 คน จากเด็กทั้งหมด 61 คน คิดเป็นร้อยละ 4.91 จากการสำรวจข้อมูลดังกล่าวจึงได้จัดหลักสูตรการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดให้แก่เด็กนักเรียน  เพื่อเป็นการเสริมทักษะการเอาชีวิตรอดเมื่อเจอสถานการณ์จมน้ำ หรือพบเห็นคนจมน้ำ
2.      ในชุมชน สำรวจแหล่งน้ำที่เสี่ยงต่อการจมน้ำ และหามาตรการป้องกันร่วมกันในชุมชน และดำเนินการปักป้ายแหล่งน้ำเสี่ยงและจัดหาอุปกรณ์ป้องกันรับสถานการณ์  ซึ่งแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชนได้แก่
5.1 สระน้ำหลังศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหว้าน
5.2 ฝายเก็บน้ำบ้านหว้าน
5.3 สระน้ำโรงเรียนบ้านสำโรง
5.4 คลองน้ำบริเวรถนนไปบ้านหนองผึ้ง
5.5 คลองอิสานเขียวบ้านขนวน
5.6 คลองน้ำบริเวรหน้าสำนักสงฆ์บ้านหนองผึ้ง
5.7 สระน้ำนางพันธุ์ ธรรมบุตร ซึ่งอยู่ติดกับหมู่บ้าน
5.8 คลองน้ำตรงทางเข้าหมู่บ้าน บ้านหว้าน
5.9 คลองน้ำติดโรงเรียนบ้านสำโรง
5.10 สระน้ำข้างหมู่บ้าน บ้านสำโรง (เส้นทางมาบ้านขนวน)
       ซึ่งแหล่งน้ำเสี่ยงดังกล่าว มีการจัดทำป้ายเตือน เขตน้ำลึก ทุกแห่ง คิดเป็นร้อยละ 100
           
ภาพแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน การติดป้ายเตือน และล้อมรั้วแหล่งน้ำเสี่ยงในชุมชน เพื่อป้องกันการจมน้ำเสียชีวิต
 









1.      มีการคัดกรองความเสี่ยงในการจมน้ำ  และให้ความรู้แก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กในคลินิกเด็กดี
1.      จัดอบรมครูศูนย์เด็กเล็กและครูอนามัยโรงเรียนเรื่องความรู้ทักษะการป้องกันเด็กจมน้ำรวมทั้งการช่วยชีวิตเบื้องต้น ครูพี่เลี้ยงเด็ก ครูอนามัยโรงเรียนมีความรู้ทักษะการป้องกันเด็กจมน้ำรวมทั้งการช่วยชีวิตเบื้องต้น ซึ่งครูอนามัยโรงเรียนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งริมสุขภาพตำบลหว้านมี 2 คน และครูพี่เลี้ยงเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งริมสุขภาพตำบลหว้านมี 2 คน รวมทั้งหมด 4 คน ซึ่งได้เข้ารับการอบรมดังกล่าวทั้ง 4 คน คิดเป็นร้อยละ 100

                        ภาพบรรยากาศการอบรมหลักสูตรการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (ทฤษฎี)




ภาพการสอนการป้องกันจมน้ำในเด็กนักเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหว้านและบ้านสำโรง







1.      จัดอบรมนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2 - 6 ทุกคน ตามหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดซึ่งทำให้เด็กนักเรียนมีความรู้ทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำรวมถึงแนวทางการช่วยเหลือเมื่อพบคนตกน้ำ
ดังรายละเอียดต่อไปนี้

โครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งเป็นเกราะป้องกันเด็กจมน้ำ ประจำปี 2559
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหว้าน  ต.สำโรงปราสาท  อ.ปรางค์กู่  จ.ศรีสะเกษ

ภาพการสอนทฤษฎีการป้องกันจมน้ำ รู้จักแหล่งน้ำเสี่ยง น้ำวน และการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ


สอนวิธีเลือกอุปกรณ์ป้องกันจมน้ำด้วยเสื้อชูชีพและเสื้อพะยุงตัว



                                          การสอนให้เด็กนักเรียนเอาชีวิตรอดด้วยวิธี ตะโกน




                                   การสอนให้เด็กนักเรียนเอาชีวิตรอดด้วยวิธี โยนอุปกรณ์


                                     การสอนให้เด็กนักเรียนเอาชีวิตรอดด้วยวิธี ยื่นอุปกรณ์


เรียนรู้การช่วยฟื้นคืนชีพ


                                                       ออกกำลังกายก่อนลงสระ
 
                                         
                                                     สอนวิธีการลงสระ ขึ้นจากสระ และให้ปฏิบัติจริง




                                                        ทีมผู้บริหารมาให้กำลังใจ

                                                     สอนการยืนขอบสระ


                                                        ยืนแตะขอบสระ มุดน้ำ


สอนท่าปลาดาว การลอยตัวในน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด


ท่าปลาดาว  แมงกระพรุน นอนคว่ำหน้า

สอนท่ากระโดดพุ่งหลาวลงน้ำ



สอนการช่วยเหลือผู้จมน้ำ ตะโกน  โยน  ยื่น  อุปกรณ์ให้ผู้ประสบภัยทางน้ำ 


     นักเรียนที่เข้ารับการอบรมตามโครงการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งเป็นเกราะป้องกันเด็กจมน้ำ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหว้าน  อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2559 จำนวน
106 คน มีความรู้ทักษะการป้องกันเด็กจมน้ำรวมทั้งการช่วยชีวิตเบื้องต้น ร้อยละ 100 ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ทักษะการป้องกันเด็กจมน้ำรวมทั้งการช่วยชีวิตเบื้องต้น
ข้อคำถาม
Pretest (n=106 คน)
Posttest (n=106 คน)
ตอบถูก
ร้อยละ
ตอบผิด
ร้อยละ
ตอบถูก
ร้อยละ
ตอบผิด
ร้อยละ
1.แหล่งน้ำที่อาจทำให้เด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี จมน้ำได้
1.1 ถังน้ำ
1.2 กะละมังอาบน้ำเด็ก
1.3 สระว่ายน้ำยาง
1.4 กระติกน้ำ


74
56
89
48


69.81
52.83
83.96
45.28


32
50
17
58


30.18
47.16
16.03
54.71


106
106
106
106


100
100
100
100


0
0
0
0


0.00
0.00
0.00
0.00
2. แหล่งน้ำที่อาจทำให้เด็กอายุ 3 ปีขึ้นไป จมน้ำได้
2.1 แอ่งน้ำขัง
2.2 โอ่งขนาดใหญ่
2.3 แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
2.4 บ่อเลี้ยงปลาข้างบ้าน


64
59
98
101


60.37
55.66
92.45
95.28


42
47
8
5


39.62
44.33
7.54
4.71


106
106
106
106


100
100
100
100


0
0
0
0


0.00
0.00
0.00
0.00
3. ความปลอดภัยทางน้ำ
       บุคคลที่ควรไปเล่นน้ำด้วย
3.1 เมื่อจะไปเล่นน้ำควรไปกับพ่อ/แม่/ผู้ปกครอง/ผู้ใหญ่
3.2 เมื่อต้องการเล่นน้ำสามารถไปเล่นน้ำกับเพื่อนได้หรือไปโดยลำพังได้
      อุปกรณ์ที่ควรนำไปด้วยเมื่อไปเล่นน้ำ
3.2 เสื้อชูชีพ
3.3 ขวดน้ำพลาสติกเปล่า/ถังแกลลอนพลาสติกเปล่า
3.4 ไม่ต้องนำอะไรไปก็ได้ แค่แต่งตัวให้สวย/หล่อ


97

84


97
82

85


91.50

79.24


91.50





9

22


9
24

21



8.49

20.75


8.49
22.64

19.81



106

106


106
106

106


100

100


100
100

100


0

0


0
0

0


0.00

0.00


0.00
0.00

0.00

ทักษะการป้องกันเด็กจมน้ำรวมทั้งการช่วยชีวิตเบื้องต้น (ต่อ)
ข้อคำถาม
Pretest (n=106 คน)
Posttest (n=106 คน)
ตอบถูก
ร้อยละ
ตอบผิด
ร้อยละ
ตอบถูก
ร้อยละ
ตอบผิด
ร้อยละ
     กฎแห่งความปลอดภัย
3.5 ควรกินอาหารก่อนลงเล่นน้ำอย่างน้อย 30 นาที
3.6 การว่ายน้ำเวลากลางคืน/ช่วงที่ฝนตกเป็นอันตราย
3.7 ไม่ควรใส่กางเกงยีนส์ลงเล่นน้ำ
3.8 เมื่อนั่งเรือต้องใส่เสื้อชูชีพทุกคน แม้ว่ายน้ำเป็น

54

89

75
91

50.94

83.96

70.75
85.84

52

17

31
15



49.05

16.03

29.24
14.15

106

106

106
106

100

100

100
100

0

0

0
0

0.00

0.00

0.00
0.00
4. ทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ
4.1 เมื่อพบคนจมน้ำควรตะโกนขอความช่วยเหลือ/ ตามผู้ใหญ่มาช่วย
4.2 เมื่อพบคนจมน้ำ ควรกระโดดลงไปช่วยทันที เพราะเราว่ายน้ำเป็น
4.3 เมื่อพบคนจมน้ำระยะใกล้ ควรยืน/ นั่งอยู่บนฝั่ง แล้วใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือคนจมน้ำจากบนฝั่ง เช่น ไม้ เสื้อ กางเกง
4.4 เมื่อพบคนจมน้ำระยะไกล ควรโยนอุปกรณ์ที่ลอยน้ำให้คนจมน้ำจับ

97

58

68


74

91.50

54.71

64.15


69.811

9

48

38


32

8.49

45.28

35.84


30.18

106

106

106


106

100

100

100


100

0

0

0


0

0.00

0.00

0.00


0.00

 สรุปผลการประเมินผลการเรียนหลักสูตรว่ายน้ำ เพื่อเอาชีวิตรอด (Survival Swimming Curriculum)
ปี 2559  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหว้าน ตำบลสำโรงปราสาท อำเภอปรางค์กู่ จังหวัดศรีสะเกษ
ทักษะ
รร.สำโรง
เด็กที่เข้าสอบทั้งหมด 50 คน
ร้อยละ
รร.หว้าน
เด็กที่เข้าสอบทั้งหมด 41 คน
ร้อยละ
หมายเหตุ
การดำน้ำ
50
100
41
100

จับเท้าแล้วคว่ำ (แมงกระพรุน)
49
98
38
92.68

ลอยตัวคว่ำ (ปลาดาว)
48
96
38
92.68

ลอยเตะเท้าคว่ำ
14
28
6
14.63

กระโดดพุ่งหลาว
39
78
22
53.65

ยืนที่ขอบสระน้ำลึก
50
100
41
100

ลอยคว่ำ
39
78
22
53.65

ลอยตัวแบบนอน (แม่ชีลอยน้ำ) นาน 3 นาที
13
26
12
29.26

ลอยตัวแบบลูกหมา (ลูกหมาตกน้ำ) นาน 1 นาที
11
22
7
17.07

เกาะขวดน้ำดื่มลอยตัว นาน 3 นาที
19
38
11
26.82

ว่ายน้ำฟรีสไตล์ 25 เมตร
10
20
5
12.19

        หมายเหตุ
        1. นักเรียนโรงเรียนบ้านสำโรง จำนวน 55 คน ขาดการทดสอบว่ายน้ำ 5 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09
        2. นักเรียนโรงเรียนบ้านหว้าน จำนวน 51 คน ขาดการทดสอบว่ายน้ำ 10 คน คิดเป็นร้อยละ 19.60
        3. รวมนักเรียนทั้งสองโรงเรียนที่เข้าทดสอบว่ายน้ำทั้งหมด 91 คน  คิดเป็นร้อยละ 85.84
        4. นักเรียนทั้งสองโรงเรียนที่เข้าทดสอบว่ายน้ำและทดสอบว่ายน้ำได้ผ่านทุกทักษะมีทั้งหมด 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 16.48
การประเมินผล/ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำในเด็ก 0 - 14 ปีลดลงร้อยละ 50 (อัตราตายไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากร) ซึ่งเด็ก 0 – 14 ปี ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหว้านมีอัตราการจมน้ำเสียชีวิตเป็น 0







0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

สสส